วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 15 ( 25 / 2 / 14 )

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 14 ( 11 / 2 / 14 )

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 13 ( 4 / 2 / 14 )

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 12 ( 28 / 1 / 14 )

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 11 ( 21 / 1 / 14 )

ห้องเรียนแรกของเด็กพิเศษ

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 10 ( 14 / 1 / 14 )

     เด็กดาวน์ซินโดรม

เกิดจาก โครโมโซม คู่ที่ 23 เกินมา 1 แท่ง

ลักษณะของเด็กดาวน์
  1. เด็กดาวน์จะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน คือ ศีรษะเล็ก หน้าแบน สันจมูกแบน ตาเล็กเฉียงขึ้น หูเล็ก ช่องปากเล็ก เพดานปากสูง คอสั้น แขนขาสั้น มือแบนกว้าง นิ้วมือ นิ้วเท้าสั้น ฝ่าเท้าสั้น
  2. ระบบกล้ามเนื้อ และกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนนิ่ม ข้อต่อยืดได้มาก ทำให้มีพัฒนาการการเคลื่อนไหวช้า และฝ่าเท้าแบนราบ ในบางราบอาจมีข้อกระดูกเคลื่อน จึงจำเป็นต้องมีการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กระดูกเจริญเติบโตช้า ทำให้ตัวเล็กเตี้ย สันจมูกแบน ช่องปากเล็ก หูชั้นกลางอักเสบได้ง่าย มีความผิดปกติของกระดูกหูชั้นกลาง และชั้นใน ทำให้บางรายมีความบกพร่องทางการได้ยิน
  3. ระบบผิวหนัง มีความยืดหยุ่นน้อย มีเลือดมาเลี้ยงน้อย ทำให้ผิวหนังแห้งแตกง่าย มีรอยจ้ำเป็นลาย และการรับรู้ทางประสาทสัมผัสมีน้อย ควรออกกำลังกายเพื่อช่วยให้เลือดมาเลี้ยงดีขึ้น
  4. ระบบทางเดินอาหาร บางรายมีการอุดตันของลำไส้ และ/หรือ ไม่มีรูทวารตั้งแต่แรกเกิด บางรายอาจอาเจียนจนถึงอายุ 6 เดือน เนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารไม่แข็งแรง เด็กส่วนมากมีปัญหาเร่องท้องอืด และท้องผูกได้ง่าย
  5. ระบบหัวใจ และหลอดเลือด บางรายอาจมีโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดร่วมด้วย และมะเร็งในเม็ดเลือดขาวได้บ้าง
  6. ระบบประสาท สมองมีขนาดเล็ก ทำให้มีการรับรู้ ความเข้าใจช้า สติปัญญาต่ำกว่าเด็กทั่วไปอาจมีปัญหาทางตา เช่น ตาเข สายตาสั้น ปัญหาการได้ยิน มีประสาทรับความรู้สึกต่างๆน้อยกว่าปกติ
  7. ระบบหายใจ ติดเชื้อง่าย เนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ และขับเสมหะไม่ดี
  8. ระบบสืบพันธ์ อวัยวะเพศของผู้ชายอาจจะเล็กกว่าปกติ
  9. ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของร่างกาย และสมอง (Growth Hormone ,Thyroid Hormone ) มีน้อยกว่าปกติ

บันทึกการเรียนรู้

ครั้งที่ 9 ( 7 / 1 / 14 )

บกพร่องทางการเรียนรู้

     เด็ก L.D.

มีลักษณะดังนี้
     1. มีปัญหาในทักษะคณิตศาสตร์
     2. ปฎิบัติตามคำสั่งไม่ได้
     3. เล่าเรื่องไม่ได้
     4. ปัญหาด้านการอ่าน เขียน 
     5. ซุ่มซ่าม
     6. เอาแต่ใจตนเอง

บันทึกการเรียนรู้

ครั้งที่ 8 ( 31 / 12 / 13 )

          ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุด

                   วันขึ้นปีใหม่

บันทึกการเรียนรู้

ครั้งที่ 7 ( 24 / 12 / 13 )

     บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์

มี 2 ประเภท
     1. ได้รับผลกระทบทางอารมณ์
     2. ปรับตัวเข้าสังคมไม่ได้
          2.1 วิตกกังวล
          2.2 หนีสังคม
          2.3 ก้าวร้าว

เกิดจาก
     1. สภาพแวดล้อม
     2. ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล
     3. เป้าหมายของแต่ละบุคคล

ได้แก่
เด็กสมาธิสั้น
     1 ไม่รู้จักระมัดระวังตัวเอง
     2 ลุกออกจากที่นั่งบ่อยๆ 
     3 ชอบวิ่ง หรือปืนป่าย อยู่ไม่นิ่ง กระสับกระส่าย วุ่นวาย 
     4 พูดคุยมากเกินไป 
     5 มีความลำบากในการเล่นคนเดียวเงียบ 
     6 ลุกลี้ลุกลน 
     7 อารมณ์ร้อน เปลี่ยนแปลงง่าย 
     8 ขาดความอดทนในการรอคอย 
     9 ชอบพูดขัดจังหวะ รบกวน ช่างฟ้อง 


เด็กออทิสติก
     1. อยู่ในโลกของตัวเอง ไม่สนใจต่อความรู้สึก ของคนอื่น 
     2. ไม่สนใจที่จะเข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ 
     3. ไม่เข้าไปเล่นกับกลุ่มเพื่อนๆ 
     4. ไม่ยอมพูด
     5. เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
     6. ยึดติดวัตถุ 
     7. ต่อต้าน หรือแสดงกิริยาอารมณ์ รุนแรง และไร้เหตุผล
     8. มีท่าทางเหมือนคนหูหนวก
     9. ท่าทางไม่รู้สึกรับรู้ต่อสิ่งเร้ามี่มากระตุ้น 
     10.ใช้วิธีการสัมผัส และเรียนรู้สิ่งต่างๆ ต่างจากเด็กทั่วไป 


บันทึกการเรียนรู้

ครั้งที่ 6 ( 17 / 12 / 13 )

บกพร่องทางการพูดและภาษา

     1. ผิดปกติด้านการออกเสียง
          ออกเสีงเพี้ยน
          เพิ่มคำมากเกิน
          ใช้เสียงหนึ่ง แทนอีกเสียงหนึ่ง

     2. ผิดปกติด้านจังหวะเวลาในการพูด
          พูดเร็ว 
          พูดรัว
          พูดติดอ่าง

     3. ผิดปกติด้านเสียง
          ดังเกินไป เบาเกินไป
          เสียงแหบ

     4. เกิดจากมีไวรัสในสมอง
          

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 5 ( 10 / 12 / 13 )

          ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากเป็นวันหยุด

                    วันรัฐธรรมนูญ

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 4 ( 03 / 12 / 13 )

บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
                   
ร่างกาย                             สุขภาพ

     เด็ก ซี.พี.                        โรคลมชัก
     กล้ามเนื้ออ่อนแรง                    โรคระบบทางเดินหายใจ
     โรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ         โรคเบาหวานในเด็ก
     โปลิโอ                            โรคข้ออักเสบรูมาตอย
     แขน ขา ด้วนแต่กำเนิด               โรคศีรษะโต
     โรคกระดูกอ่อน                      โรคหัวใจ
                                      โรคมะเร็ง

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 3 ( 26 / 11 / 13 )

บกพร่องทางการได้ยิน
     หูตึง
        ใช้เครื่องช่วยฟัง
        มี 4 ประเภท
             26 - 40 dB - เสียงกระซิบ
             41 - 55 dB - จับทิศทางของเสียงไม่ได้
             56 - 70 dB - มีปัญหาทางการพูด
             71 - 90 dB - ไม่ได้ยินเสียงตะโกน
     
     หูหนวก
        สูญเสียการได้ยิน
        ไม่เข้าใจภาษา
        พูดไม่ได้



บกพร่องทางสติปัญญา
     เรียนช้า
        ขาดทักษะทางการเรียน
        มีปัจจัยทั้ง ภายใน - ภายนอก
     
     ปัญญาอ่อน
        พัฒนาการหยุดชะงัก
        จำกัดการเรียนรู้
        มี 4 ประเภท
            IQ ต่ำกว่า 20 ต้องได้รับการดูแล
            IQ 20 - 34 ช่วยเหลือตัวเองไ้ด้เบื้องต้น
            IQ 35 - 49 สามารถทำงานง่ายๆได้
            IQ 50 - 70 สามารถเรียนรวมได้

บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 2 ( 19 / 11 / 13 )

ประเภทของเด็กที่มีคามต้องการพิเศษ


แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 


     1. กลุ่มเด็กที่มีความสามารถสูง เด็กปัญญาเลิศ/อัจฉริยะ

     2. กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่อง ( 9 ประเภท )
               บกพร่องทางการมองเห็น
               บกพร่องทางการได้ยิน
               บกพร่องทางสติปัญญา
               บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
               มีปัญหาทางการเรียน
               บกพร่องทางการพูด
               มีปัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์
               ออทิสติก
               พิการซ้อน

บกพร่องทางการมองเห็น
     - บอดสนิท
              ลานสายตา 5 องศา
              มองไม่เห็น ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นช่วย

     - มองเห็นเลืองลาง
              ลานสายตา 30 องศา
              มองเห็นบ้าง ไม่เห็นบ้าง


บันทึกการเรียน

ครั้งที่ 1 ( 12 / 11 / 13 )
     
     เด็กที่มีความต้องการพิเศษ Children with Special Needs

ความหมาย
การแพทย์ = เด็กพิการ (มีความผิดปกติ บกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพทางสมองและ/หรือจิตใจ)
การศึกษา = เด็กที่มีความจำเป็นเฉพาะด้านในการจัดกการศึกษาพิเศษ

สรุป
     เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
* เด็กที่ไม่สามารถพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควร
* สาเหตุมาจาก ความบกพร่องทางด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา
* ต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ บำบัดและฟื้นฟู
* จัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม (รายบุคคล)